“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” การจำแนกประเภทว่าโครงสร้างเสานั้นเป็นโครงสร้างเสาสั้นหรือโครงสร้างเสายาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ ไว้ว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาขยายความเกี่ยวกับเรื่องค่าต่างๆ และวิธีในการจำแนกว่าโครงสร้างเสา คสล ของเรานั้นมีลักษณะเป็น โครงสร้างเสาที่มีความสั้น หรือ โครงสร้างเสาที่มีความชะลูด ด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งานให้กับเพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อจากในโพสต์ที่แล้วนะครับ … Read More

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” แรงเฉือนโดยตรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ อย่างที่ผมได้เรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้แล้วว่าผมกำลังจะมาอธิบายและให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับการออกแบบ ชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับ แรงเฉือนโดยตรง หรือ DIRECT SHEAR ซึ่งมีคำถามเข้ามาเยอะพอสมควรเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ ซึ่งถึงแม้โพสต์ในทุกๆ … Read More

เทคนิคในการเลือกใช้งานค่าแรงปฏิกิริยาของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาซึ่งรวมถึงเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาด้วยผมกำลังพูดถึงประเด็นเรื่อง วิธีการเติมโครงสร้างเสาเข็มใหม่เข้าไปในโครงสร้างฐานรากเดิมโดยที่ไม่เป็นการทำให้ตัวโครงสร้างฐานรากนั้นเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะทางด้านความสมมาตรไป ซึ่งประเด็นก็คือ ผมได้ให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ไปว่า หากเราเพิ่มโครงสร้างเสาเข็มเข้าไปใหม่ โดยที่มีขนาดเท่าๆ กันกับโครงสร้างเสาเข็มเดิมก็จะไม่มีปัญหาอันใด แต่ หากเราเพิ่มโครงสร้างเสาเข็มเข้าไปใหม่ … Read More

ฝากคำถามแล้วเราจะมาตอบให้ โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า FEA

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More

ฝากคำถามแล้วเราจะมาตอบให้ ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ FEA

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ค่าสปริง (K) ของดินสำหรับนำไปใช้ใน structural model

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตแชร์และนำเอาบทความดีๆ ที่เขียนโดยท่านอาจารย์ ดร.พัลลภ วิสุทธิ์เมธานุกูล ผู้เขียนหนังสือ “คู่มือวิศวกรรมฐานราก” เอามาฝาก ซึ่งบทความๆ นี้จะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง “ค่าสปริง … Read More

สการทดสอบเพื่อหาความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการทดสอบทางอ้อม ด้วยวิธี PARALLEL SEISMIC TEST

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ คำถามๆ หนึ่งซึ่งตัวผมเองเคยได้รับมาค่อนข้างที่จะบ่อยมากๆ เวลาที่ต้องไปทำการสำรวจโครงสร้างอาคารเลยก็คือ จำนวนน้อยที่สุดในการที่เราจะทำการทดสอบโครงสร้างเสาเข็มด้วยวิธี PARALLEL SEISMIC TEST นั้นควรเป็นจำนวนเท่าใด ? ซึ่งผมก็คงจะให้คำตอบเหมือนในทุกๆ … Read More

การคำนวณตรวจสอบว่าแรงปฏิกิริยาของเสาเข็ม เกิดการเยื้องศูนย์ออกไป จากที่วิศวกรกำหนด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ ซึ่งวันนี้เป็นวันศุกร์วันแรกที่เราได้มาพบกันพบก็จะขอเริ่มต้นจากคำถามสดๆ ร้อนๆ ที่เพิ่งได้รับมาเมื่อวานจากน้องแฟนเพจผู้หญิงท่านหนึ่งซึ่งได้สอบถามเข้ามาโดยมีใจความของคำถามว่า “ขออนุญาตสอบถามเกี่ยวกับโพสต์ที่ผมเคยได้ทำการอธิบายถึงเรื่องกรณีที่โครงสร้างฐานรากที่เกิดปัญหาการที่เสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ออกไป (รูปที่ 1) ว่าเพราะเหตุใดเราจึงควรต้องทำการคำนวณหาว่าแรงปฏิกิริยาของเสาเข็มนั้นเป็นเท่าใดคะ ?” ซึ่งผมก็ได้ทำการตอบไปในเบื้องต้นว่า ถ้าหากเกิดเหตุการณ์ที่เสาเข็มของเรานั้นเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปจากที่วิศวกรผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ … Read More