บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

สร้างใหม่ ใช้เสาเข็มแบบไหนดี? เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม มีคำตอบ!!

สร้างใหม่ ใช้เสาเข็มแบบไหนดี? เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม มีคำตอบ!! งานสร้างใหม่จะต้องเลือกใช้เสาเข็มที่มีความมั่นคง และแข็งแรงสูง เพราะเสาเข็ม ทำหน้าที่รับน้ำหนักของโครงสร้างทั้งหมดลงสู่ชั้นดิน และต้องมีการการออกแบบคำนวณความปลอดภัยในการรับน้ำหนัก โดยวิศวกรที่มีประสบการณ์ การทำการเปรียบเทียบผลการทดสอบดินจากการเจาะสำรวจก่อนการตอกเสาเข็ม จะช่วยให้เราสามารถทำการวางแผนงานการก่อสร้างให้มีความเหมาะสม ในเรื่องของความยาว และกำลังรับน้ำหนักของเสาเข็ม … Read More

สร้างใหม่ เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spunmicropile และไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม

สร้างใหม่ เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spunmicropile และไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม เสาเข็มขนาดเล็กแต่เหมาะกับงานสร้างใหม่ขนาดใหญ่ เราขอแนะนำ เสาเข็มไอไมโครไพล์ และเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ของภูมิสยาม เสาเข็มคุณภาพ มีความมั่นคงแข็งแรงสูง เหมากับการตอกเพื่อรับน้ำหนักโครงสร้างขนาดใหญ่ สามารถรองรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ป้องกันการทรุดตัวที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต … Read More

ตอบปัญหาโครงสร้างหลังคายื่น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปโครงสร้างหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF STRUCTURE A B … Read More

เบื่อไหม? สร้างใหม่ไม่ถึงปีฐานรากทรุดตัว ต้องแก้ด้วยสิ่งนี้…

เบื่อไหม? สร้างใหม่ไม่ถึงปีฐานรากทรุดตัว ต้องแก้ด้วยสิ่งนี้… ปัจจุบันเสาเข็มที่ผลิตจากคอนกรีตได้รับความนิยมในการก่อสร้าง เพราะใช้งานง่ายและราคาประหยัด โดยทั่วไปแล้วการก่อสร้างให้ฐานรากมั่นคงจะต้องลงเสาเข็มให้ลึกลงไปถึงชั้นดินที่แข็งแรงพอ หากตอกลงไปในชั้นดินที่อยู่นระดับตื้นมีการรับแรงต่ำและการยุบตัวสูง จะส่งผลให้ไม่สามารถรับน้ำหนักของโครงสร้างได้ ดังนั้นการเลือกใช้เสาเข็มต้องเป็นเสาเข็มที่ผ่านการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (DYNAMIC LOAD TEST) และมีคุณสมบัติที่ดีในเรื่องความสั่นสะเทือนในขณะตอกที่น้อย เรื่องความสะอาด สะดวก และการติดตั้งที่รวดเร็วก็เป็นส่วนสำคัญ เพราะช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการทำงาน ภูมิสยามขอแนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile … Read More

ต่อเติม เสริมฐานราก อาคารโรงงาน ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile และไอไมโครไพล์ I-Micropile โดย ภูมิสยาม

ต่อเติม เสริมฐานราก อาคารโรงงาน ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile และไอไมโครไพล์ I-Micropile โดย ภูมิสยาม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ และไอไมโครไพล์ เสาเข็มขนาดเล็ก แต่สามารถเสริมฐานรากอาคารโรงงานได้ เพื่อรองรับน้ำหนักเครื่องจักรขนาดใหญ่ โดยเสาเข็มสามารถเชื่อมต่อแต่ละท่อนได้โดยการเชื่อมด้วยไฟฟ้า และใชั้ปั้นจั่นแบบพิเศษในการตอก ทำให้สามารถตอกต่อกันได้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง สามารถรองรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัยทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic … Read More

ฝากคำถามแล้วเราจะมาตอบให้ ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ FEA

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” การจำแนกประเภทว่าโครงสร้างเสานั้นเป็นโครงสร้างเสาสั้นหรือโครงสร้างเสายาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ ไว้ว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาขยายความเกี่ยวกับเรื่องค่าต่างๆ และวิธีในการจำแนกว่าโครงสร้างเสา คสล ของเรานั้นมีลักษณะเป็น โครงสร้างเสาที่มีความสั้น หรือ โครงสร้างเสาที่มีความชะลูด ด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งานให้กับเพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อจากในโพสต์ที่แล้วนะครับ … Read More

การออกแบบ โครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ หรือ BEAM BEARUNG PLATE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ในสัปดาห์นี้ผมก็จะมาเริ่มต้นทำการสรุปวิธีการออกแบบ โครงสร้างแผ่นเหล็ก หรือ STRUCTURAL STEEL BASE PLATE ที่มีการติดตั้งสลักเกลียวแบบฝังยึด หรือ ANCHOR BOLT ซึ่งก็จะต่อเนื่องจากเนื้อหาจากในคลิปเมื่อสัปดาห์ก่อนหน้านี้ … Read More

เสาเข็มแบบไหนที่เหมาะกับงานเสริมฐานราก เพื่อรับน้ำหนักจากโครงสร้างทั้งหมด

เสาเข็มแบบไหนที่เหมาะกับงานเสริมฐานราก เพื่อรับน้ำหนักจากโครงสร้างทั้งหมด เสาเข็ม คือ ส่วนประกอบของโครงสร้างที่อยู่ใต้สุดของอาคาร มีลักษณะเป็นท่อนฝังในดินเชื่อมต่อกับฐานราก ทำหน้าที่รับน้ำหนักทั้งหมดของโครงสร้าง หากไม่มีเสาเข็มค่อยรับน้ำหนักของโครงสร้างอาคาร แล้ววางแค่ตัวอาคารไว้เพียงอย่างเดียวจะทำให้ดินทรุดตัวลงไปเรื่อย ๆ แต่ถ้าอาคารมีเสาเข็มก็จะช่วยให้เกิดแรงต้านน้ำหนักได้ สามารถช่วยชะลอการทรุดตัวของโครงสร้างไว้ได้นาน เสาเข็มที่จะนำมาใช้ในงานเสริมฐานรากอาคารประเภทต่าง ๆ ตั้งแต่อาคารขนาดเล็ก ขนาดกลาง จนไปถึงขนาดใหญ่ ต้องมีความมั่นคงแข็งแรงสูง และคุณภาพสูง สามารถรับน้ำหนักได้ปลอดภัย … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” ความยากง่ายในการวิเคราะห์โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กและโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการไขข้อข้องใจกับปัญหาๆ หนึ่งที่ผมเคยได้ถูกสอบถามเข้ามาหลายครั้งแล้วว่า ระหว่างการวิเคราะห์ โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก เปรียบเทียบกันกับการวิเคราะห์ โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ โครงสร้างแบบใดที่จะสามารถทำการวิเคราะห์โครงสร้างออกมาได้ง่ายหรือยากกว่ากัน? ผมขอตอบแบบกว้างๆ แบบนี้ก็แล้วกันว่า เนื่องจากว่าการที่โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กนั้นถือได้ว่าเป็นโครงสร้างประเภทวัสดุผสมหรือ COMPOSITE MATERIAL … Read More

1 3 4 5 6 7 8 9 16