บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

ต่อเติมบ้านด้วย เสาเข็มไอ I-Micropile ภูมิสยาม ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย เข็มไอ และ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile

ต่อเติมบ้านด้วย เสาเข็มไอ I-Micropile ภูมิสยาม ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย เข็มไอ และ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile ต่อเติมบ้าน ต่อเติมหน้าบ้าน ลานจอดรถ ป้องกันการทรุดตัว ต้องเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดยภูมิสยาม เป็นเสาเข็มที่มีขนาดเล็ก แต่มีความมั่นคงแข็งแรงสูง สามารถรองรับน้ำหนักโครงสร้างได้ดี … Read More

ทำไม? ต้องมีวิศวกรวิเคราะห์ความสามารถในการคำนวณขนาดและความลึก

ทำไม? ต้องมีวิศวกรวิเคราะห์ความสามารถในการคำนวณขนาดและความลึก การก่อสร้าง หรือการปลูกสิ่งต่าง ๆ นั้นฐานรากถือเป็นโครงสร้างของอาคารที่สำคัญ เพราะทำหน้าที่บรรทุกหรือรับน้ำหนักสิ่งปลูกสร้าง ๆ โดยจะมีเสาเข็มเป็นตัวกลางถ่ายเทน้ำหนักของโครงสร้างลงสู่ชั้นดิน โดยจะถ่ายเทจากหลังคา พื้น เสา คาน ตอม่อและฐานรากตามลำดับ ในการออกแบบฐานรากเพื่อรับน้ำหนักสิ่งปลูกสร้างจำเป็นต้องคำนึงถึงปัจจัย และสภาพแวดล้อมต่าง ๆ เพื่อให้ฐานรากนั้นมีความสามารถเพียงพอที่จะรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย ดั้งนั้นจึงจำเป็นต้องให้วิศวกรผู้เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์ทางสถิตยศาสตร์ และการวิเคราะห์ทางพลศาสตร์ … Read More

ประโยชน์ของการประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเม้นต์ในการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้าง และการควบคุมมิให้ค่าแรงเค้นใช้งานหรือ WORKING STRESS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ก่อนที่ทุกอย่างจะพร้อมสำหรับการไลฟ์สดในทุกๆ วันจันทร์ผมเลยตั้งใจจะพูดถึงและแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ในหัวข้อ “ประโยชน์ของการประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเม้นต์ในการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้าง” ไปพลางๆ ก่อนนะครับ ซึ่งหัวข้อในวันนี้ก็คือ ตอนที่เราทำการออกแบบโครงสร้าง หากเราอาศัยวิธีหน่วยแรงที่ยอมให้หรือ ALLOWABLE STRESS DESIGN METHOD นอกจากเราจะต้องทำการควบคุมมิให้ค่าแรงเค้นใช้งานหรือ WORKING STRESS นั้นไม่ให้เกินค่าแรงเค้นที่ยอมให้หรือ ALLOWABLE … Read More

ฝากคำถามแล้วเราจะมาตอบให้ โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า FEA

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More

ภูมิสยามฯ สมทบทุนสร้างอาคาร รวมมูลค่ากว่า 1.5 ล้านบาท — ข่าวสด

posted in: Social Responsibility

ภูมิสยามฯ สมทบทุนสร้างอาคาร รวมมูลค่ากว่า 1.5 ล้านบาท นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ (ที่ 3 จากซ้าย) กรรมการผู้จัดการบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมัน พร้อมด้วยครอบครัวร่วมสมทบทุนด้วยการถวายวัสดุในการก่อสร้าง รวมมูลค่ากว่า 1.5 ล้านบาท … Read More

ภูมิสยามฯ เข้าร่วมโครงการโรงงานสีขาว ของสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน – ข่าวเดลินิวส์

posted in: Bhumisiam News

ภูมิสยามฯ ภูมิสยามฯ เข้าร่วมโครงการโรงงานสีขาว นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ (กลาง) กรรมการผู้จัดการ บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมัน ให้การต้อนรับนางจิราพร ตีวกุล (ที่ 2 จากขวา) นักวิชาการแรงงานชำนาญการ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดปทุมธานี … Read More

เทคนิคในการเลือกใช้งานค่าแรงปฏิกิริยาของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาซึ่งรวมถึงเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาด้วยผมกำลังพูดถึงประเด็นเรื่อง วิธีการเติมโครงสร้างเสาเข็มใหม่เข้าไปในโครงสร้างฐานรากเดิมโดยที่ไม่เป็นการทำให้ตัวโครงสร้างฐานรากนั้นเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะทางด้านความสมมาตรไป ซึ่งประเด็นก็คือ ผมได้ให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ไปว่า หากเราเพิ่มโครงสร้างเสาเข็มเข้าไปใหม่ โดยที่มีขนาดเท่าๆ กันกับโครงสร้างเสาเข็มเดิมก็จะไม่มีปัญหาอันใด แต่ หากเราเพิ่มโครงสร้างเสาเข็มเข้าไปใหม่ … Read More

สร้างใหม่ เลือกใช้เสาเข็มแบบไหน? ไม่ทรุด!! ไม่ร้าว!! แม้จะผ่านไปหลายปี

สร้างใหม่ เลือกใช้เสาเข็มแบบไหน? ไม่ทรุด!! ไม่ร้าว!! แม้จะผ่านไปหลายปี ดินมีหลายประเภทและหลายลักษณะ สภาพดินจึงมีผลต่อการทรุดร้าวเพราะเมื่อดินมีการเคลื่อนตัวย่อมส่งผลต่อฐานรากที่ไม่มั่นคง การลงเสาเข็มถือเป็นส่วนสำคัญอย่างมาก ต้องลงให้ลึกลงไปถึงชั้นดินแข็ง เพื่อให้มีแรงต้านและพยุงตัวอาคารไว้ ป้องกันการทรุดตัวที่จะเกิดขึ้นได้ในอนาคต ทำให้ผู้อยู่อาศัยรู้สึกอุ่นใจและปลอดภัย แน่นอนว่าการจะได้ฐานรากอาคารที่มั่นคงปลอดภัยไม่ใช่เรื่องง่าย ดังนั้นควรเลือกใช้เสาเข็มที่ได้รับอนุญาตแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน การออกแบบการผลิตและตอก ISO 9001:2015 และอาชีวอนามัยด้านความปลอดภัยในการตอก ISO 45001:2018 … Read More

ปัญหากวนใจ แก้ได้ไม่ยาก กับพื้นทรุดตัว ฐานรากไม่มั่นคง

ปัญหากวนใจ แก้ได้ไม่ยาก กับพื้นทรุดตัว ฐานรากไม่มั่นคง ปัญหาสุดกวนใจที่ทำเอาเจ้าของอาคารแทบทรุดสำหรับงานสร้างใหม่ หรือต่อเติม คงหนีไม่พ้นฐานรากไม่มั่นคง นอกจากจะสร้างความรำคาญใจแล้ว ยังทำให้มีปัญหาตามมาอีกมากมายไม่ว่าเป็น โครงสร้างทรุดตัว มีค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมไม่จบไม่สิ้น ปัจจัยที่ทำให้เกิดการทรุดตัวของอาคารเกิดจากการลงเสาเข็มไม่ลึกถึงชั้นดินแข็ง และเสาเข็มไม่สามารถรับน้ำหนักได้มากพอ การเลือกเสาเข็มจะดูที่ความยาวอย่างเดียวไม่ได้ ก่อนจะทำการตอกเสาเข็มลงไปควรทำการสำรวจสภาพดินก่อน เพื่อลดความผิดพลาดในการคำนวณการใช้เสาเข็มรับนำหนักได้ ซึ่งตรงนี้ต้องให้วิศวกรผู้ที่มีเชี่ยวชาญเป็นผู้ดำเนินการ เพื่อให้การออกแบบสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เป็นไปอย่างละเอียดรอบครอบ … Read More

ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง – โครงสร้างแผ่นเหล็ก ทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการยกตัวอย่างเพื่อใช้ในการอธิบายถึงวิธีในการออกแบบ โครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ หรือ BEAM BEARING PLATE ซึ่งผมก็ได้ใช้วิธีในการออกแบบตามมาตรฐาน AISC โดย วิธีการหน่วยแรงที่ยอมให้ หรือ ALLOWABLE … Read More

1 5 6 7 8 9 10 11 16